![]() |
|||
![]() |
สาหร่ายเกลียวทองกับโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน เป็นโรคที่รักษาให้หายยากบางครั้งดูผิวเผินคล้ายกับผู้ป่วยได้หายจากโรคเบาหวานแล้ว แต่เมื่อใด |
||||||||
อินซูลินและรับประทานยาควบคู่ไปด้วย | |||||||||
จุดประสงค์อีกประการหนึ่งในการรักษาโรคเบาหวานคือ ให้ผู้ป่วยสามารถทำกิจกรรม ในชีวิตประจำวัน | |||||||||
ได้เหมือนเช่นคนที่มีสุขภาพแข็งแรงทั่วไป | |||||||||
การดูแลสุขภาพโดยทั่วไปทั้งหมด เป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการรักษาโรคเบาหวาน การพึ่งพา อินซูลินแต่ี | |||||||||
เพียงอย่างเดียวมอันตรายในแง่ที่ว่า หากอินซูลินมีปริมาณมากเกินไป ปริมาณน้ำตาลในเลือดจะลดน้อยลง | |||||||||
และเมื่อปริมาณน้ำตาลในเลือดลดลงแม้แต่เพียงเล็กน้อยร่างกายจะปรากฏอาการต่าง ๆ เช่น หายใจติดขัด | |||||||||
เหงื่อออกเต็มตัว เวียนศีรษะ หน้ามืด หรือหมดสติไป | |||||||||
หลายคนที่เกรงว่าปริมาณน้ำตาลในเลือดจะลดลงมากเกินไป มักพกพากลูโคส ชนิดเม็ดติดตัวไว้เสมอ | |||||||||
ในความเป็นจริงอาหารธรรมชาติสามารถให้ผลที่ดีกว่ากลูโคสชนิดเม็ดมาก คือนอกจากจะช่วยควบคุมปริมาณ | |||||||||
น้ำตาลในเลือดแล้วยังสามารถช่วยเสริมสุขภาพ โดยทั่วไปได้ด้วยการรักษาโรคเบาหวานขั้นเริ่มต้นคือ การลด | |||||||||
น้ำหนักให้อยู่ในระดับปกติ นอกจากนี้คนที่เป็นโรคเบาหวานจะต้องหลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น | |||||||||
ในอนาคตอย่างไรก็ดีไม่ได้หมายความว่าคนที่เป็นโรคเบาหวานจะไม่ต้องการไขมันเลย | |||||||||
อาหารที่คนเป็นโรคเบาหวานควรบริโภคเป็นประจำคือธัญญาหาร ที่ไม่ผ่านการ ปรุงแต่ง เช่น ขนมปังโฮลวีท ข้าวซ้อมมือ ลูกเดือย เป็นต้น อาหารที่ปราศจาก สารเคมีผักผลไม้ปลอดสารพิษ อาหารสำเร็จรูปที่ไม่ใส่สารกันบูด อาหารที่มี กากอาหารอยู่มากหากผู้ป่วยสามารถรับประทานอาหาร เช่นที่ว่านี้ได้สม่ำเสมอ ก็จะ สามารถควบคุมน้ำตาลได้โดยที่น้ำหนักตัวไม่เพิ่มขึ้น รวมทั้งสุขภาพ โดยทั่วไป จะดีขึ้นระบบการทำงานของร่างกาย ในการรักษาสมดุลภายใน จะมีประสิทธิภาพ ดีขึ้น ผู้ป่วยโรคเบาหวานอาจต้องการสารอาหารบางอย่างมากกว่าที่คนทั่วไป ต้องการ ร่างกายคนเรานั้นเหมือนกันในหลักใหญ่แต่ในรายละเอียดมีความ แตกต่างกันเป็นอย่างมากในวงการแพทย์มีการกำหนดมาตรฐานในเรื่องต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ โรคและการเยียวยารักษามาตรฐานทางการแพทย์ |
|||||||||
นั้น จะมีแต่เรื่องของน้ำหนัก ส่วนสูง ความดันโลหิต ฯลฯ มาตรฐานที่กำหนดขึ้นมานั้นอาจไม่ครอบคลุม“ภาวะปกติ” ของ | |||||||||
ทุกคนเนื่องจากภาวะปกติของบุคคลใดบุคคลหนึ่งอาจต่ำหรือสูงกว่าค่าเฉลี่ยก็ได้ ตัวอย่างเช่น มีการกำหนดมาตรฐานว่าคน | |||||||||
โดยทั่วไปต้องการวิตามินซี 30 มก. ต่อวัน แต่สำหรับคนที่สุขภาพไม่ดีหรือคนที่มีปัญหาเกี่ยวกับกรรมพันธุ์ อาจต้องการ | |||||||||
วิตามินซีมากถึง 2,000 มก.ต่อวันก็ได้ ดังนั้นสำหรับบุคคลเหล่านี้การกินวิตามินซีวันละ 50 มก.ต่อวัน อาจทำให้เขาเป็น | |||||||||
คนขาดวิตามินซีทันทีทั้งที่ร่างกายรับวิตามินซี มากกว่าค่าเฉลี่ยทั่วไปแล้วก็ตามการที่ร่างกายส่งสัญญาณเตือนว่ามีการขาด | |||||||||
สารอาหารอย่างใดอย่างหนึ่งนั้นเป็นเพราะระบบเคมีชีวภาพของร่างกาย ต้องการสารอาหารเหล่านั้น และการรักษาที่ดีที่สุด | |||||||||
คือการตอบสนองความต้องการของร่างกายไม่ว่าสิ่งนั้นจะเกิน “ค่าเฉลี่ย” หรือมาตรฐานที่กำหนดอย่างไรก็ตาม อย่าลืมว่าเมื่อ | |||||||||
ต้องการคำแนะนำในเรื่องของโรคเบาหวานขอให้สอบถามจากนายแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น อย่ายึดหนังสือเล่มใดเล่มหนึ่ง | |||||||||
เป็นคู่มือเพียงประการเดียว | |||||||||
อาหารสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ดีจะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ | |||||||||
1. ควบคุมปริมาณน้ำตาลในเลือดได้ | |||||||||
2. ช่วยในการคุมน้ำหนัก | |||||||||
3. ต้องเป็นอาหารซึ่งเสริมสุขภาพ | |||||||||
4. เป็นอาหารที่เสริมความต้องการเฉพาะอย่างได้ | |||||||||
5. เป็นอาหารที่สามารถลดความซับซ้อนของระบบการทำงานของร่างกายได้ | |||||||||
สารอาหารที่ผู้ป่วยโรคเบาหวานต้องการมากเป็นพิเศษได้แก่ | |||||||||
เบต้าแคโรทีน, วิตามินเอ, บี1, บี2, บี3, บี5, บี6, บี12, วิตามินซี, คลอไรด์, อินโนซิทอล, โครเมี่ยม, | |||||||||
แมงกานีส, โปตัสเซียม, และสังกะสี | |||||||||
ในญี่ปุ่น นายแพทย์ได้สั่งสาหร่ายเกลียวทองให้คนไข้โรคเบาหวานที่อาการค่อนข้างหนัก รับประทานควบคู่ | |||||||||
ไปกับการควบคุมอาหารอย่างเข้มงวด โดยจ่ายสาหร่ายเกลียวทองให้กินวันละ 9 เม็ด (มื้อละ 3 เม็ดหลังอาหาร) | |||||||||
หลังจาก 30 วัน และ 60 วันผ่านไป ปริมาณน้ำตาลเกือบจะหายไปจากปัสสาวะและปริมาณน้ำตาลในเลือดก็กลับสู่ | |||||||||
ภาวะปกติ | |||||||||
![]() |
|||||||||
|
|||||||||